ตัวอย่างข้อสอบ นักธรรมโท ระดับประถมศึกษา ปี 2556 จำนวน 50 ข้อ พร้อมเฉลย
๑. วิธีการทำบุญในพระพุทธศาสนา เรียกว่าอะไร ?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. บุญกิริยาวัตถุ
๒. บุญ หมายถึงอะไร ?
ก. ความดี
ข. ความสุข
ค. ความเจริญ
ง. ถูกทุกข้อ
๓. ทำบุญสร้างโรงพยาบาล จัดเป็นบุญกิริยาวัตถุุใด ?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. ปัตติทานมัย
๔. ไม่ฆ่าสัตว์์ มีเมตตากรุุณา จัดเป็นบุญกิริยาวัตถุุใด ?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. ปัตติทานมัย
๕. วิธีทำบุญที่่มีอานิสงส์มากที่่สุด คือข้อใด ?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. ปัตติทานมัย
๖. วุฑฒิ แปลว่าอะไร ?
ก. ความเจริญรุ่งเรือง
ข. เจริญวัย
ค. เจริญยศ
ง. เจริญทรัพย์
๗. คบสัตบุรุษ หมายถึงการกระทำเช่นไร ?
ก. สนทนา
ข. ปรึกษาหารือ
ค. ฟังคำสั่งสอน
ง. ถูกทุกข้อ
๘. สัทธัมมัสสวนะ จะเกิดความเจริญรุ่งเรืองแก่่ผู้ฟังได้ด้วยวิธีใด ?
ก. รับฟัง
ข. จดจำเนื้อหา
ค. ยอมรับนับถือ
ง. ลงมือปฏิบัติ
๙. โยนิโสมนสิการ เป็นบ่อเกิดแห่่งมรรคใด ?
ก. สัมมาทิฏฐิ
ข. สัมมาวาจา
ค. สัมมาอาชีวะ
ง. สัมมาวายามะ
๑๐. โยนิโสมนสิการ หมายถึงความคิดใด ?
ก. คิดถูกวิธี
ข. คิดมีระบบ
ค. คิดไตร่ตรอง
ง. ถูกทุกข้อ
๑๑. ข้อใด เป็นความหมายของธัมมานุุธัมมปฏิปัตติ ?
ก. คบคนดี
ข. ฟังธรรม
ค. คิดไตร่ตรอง
ง. ลงมือปฏิบัติ
๑๒. ธรรมที่่เป็นเสมือนล้อรถนำไปสู่จุดหมาย เรียกว่าอะไร ?
ก. วุฑฒิ ๔
ข. จักร ๔
ค. ปธาน ๔
ง. อธิษฐาน ๔
๑๓. ประเทศเช่นไร เรียกว่าปฏิรูปเทสวาสะ ?
ก. มีความเจริญ
ข. มีคนดีมาก
ค. มีเศรษฐกิจดี
ง. ถูกทุกข้อ
๑๔. อาคารรัฐสภา สัปปายะสภาสถาน มีความหมายตรงกับสัปปายะใด ?
ก. อาวาส
ข. บุุคคล
ค. อาหาร
ง. ธรรม
๑๕. คำว่า สัปปุริสูปัสสยะ แปลว่าอะไร ?
ก. คบสัตบุรุษ
ข. คบเพื่อน
ค. คบค้าสมาคม
ง. คบมิตรประเทศ
๑๖. คำว่า อัตตสัมมาปณิธิ แปลว่าอะไร ?
ก. ตั้งใจ
ข. ตั้งมั่น
ค. ตั้งตัว
ง. ตั้งตนไว้ชอบ
๑๗. อัตตสัมมาปณิธิ หมายถึงข้อใด ?
ก. วางตัวได้เหมาะสม
ข. ประพฤติดี
ค. มีการศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๘. ปุพเพกตปุญญตา แปลสั้น ๆ ว่าอย่างไร ?
ก. มีบุญเก่า
ข. มีบุญมาก
ค. มีบุญน้อย
ง. มีบุญแต่กรรมบัง
๑๙. จักร ๔ ข้อใด สำคัญที่่สุด ?
ก. อยู่ถิ่นดี
ข. คบคนดี
ค. ตั้งตนไว้ดี
ง. ทำบุญมาดี
๒๐. ผู้ใหญ่วางตนอย่างไร จึงจะเป็นที่ยกย่องของผู้น้อย ?
ก. เว้นอคติ
ข. เว้นอรติ
ค. เว้นมติ
ง. เว้นคติ
๒๑. ลำเอียงเพราะรัก เรียกว่าอะไร ?
ก. ฉันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๒. ลำเอียงเพราะไม่ชอบ เรียกว่าอะไร ?
ก. ฉันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๓. ลำเอียงเพราะโง่เขลา เรียกว่าอะไร ?
ก. ฉันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๔. ลำเอียงเพราะกลัว เรียกว่าอะไร ?
ก. ฉันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๕. พ่อแม่ไม่ลงโทษบุตรธิดาที่่ทำผิด เรียกว่ามีอคติใด ?
ก. ฉันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๖. ความอยุติธรรมที่่เกิดจากไม่รู้ข้อมูลที่่แท้้จริง ตรงกับข้อใด ?
ก. ฉันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๗. ผู้ที่ตกอยู่ในอำนาจของอคติ จะมีพฤติกรรมเช่นใด ?
ก. เห็นแก่ตัว
ข. ไม่ยุุติธรรม
ค. ตระหนี่่
ง. โกรธง่าย
๒๘. ธรรมหมวดใด หมายถึงความเพียร ?
ก. วุฑฒิ ๔
ข. จักร ๔
ค. ปธาน ๔
ง. อิทธิบาท ๔
๒๙. เพียรระวังบาป เป็นคำแปลของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๐. เพียรละบาป เป็นคำแปลของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๑. เพียรสร้างกุศล เป็นคำแปลของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๒. เพียรรักษากุศล เป็นคำแปลของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๓. ละชั่วกลัวบาป เป็นความหมายของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๔. สร้างความดีชีวีไม่ตกต่ำ เป็นความหมายของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๕. รักษาความดีดุจเกลือรักษาความเค็ม เป็นความหมายของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๖. ธรรมที่่ควรตั้งไว้ในใจ เรียกว่าอะไร ?
ก. วุฑฒิ
ข. จักร
ค. ปธาน
ง. อธิษฐาน
๓๗. รอบรู้ในสิ่งที่ควรรู้้ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ปัญญา
ข. สัจจะ
ค. จาคะ
ง. อปสมะ
๓๘. ความจริงใจ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ปัญญา
ข. สัจจะ
ค. จาคะ
ง. อปสมะ
๓๙. สละสิ่งที่่เป็นข้าศึกแก่่ความจริงใจ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ปัญญา
ข. สัจจะ
ค. จาคะ
ง. อปสมะ
๔๐. สงบใจจากสิ่งที่่เป็นข้าศึก เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ปัญญา
ข. สัจจะ
ค. จาคะ
ง. อปสมะ
๔๑. คุณเครื่องให้้สำเร็จความประสงค์์ เรียกว่าอะไร ?
ก. วุฑฒิ
ข. จักร
ค. อิทธิบาท
ง. อธิษฐาน
๔๒. ความพอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๆ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ฉันทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วิมังสา
๔๓. เพียรประกอบสิ่งนั้น ๆ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ฉันทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วิมังสา
๔๔. เอาใจฝักใฝ่่ในสิ่งนั้น ๆ ไม่วางธุระ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ฉันทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วิมังสา
๔๕. หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุุผลในสิ่งนั้น ๆ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ฉันทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วิมังสา
๔๖. ธรรมอันเป็นเครื่องอยู่่ของพรหมหรือผู้ใหญ่่ เรียกว่าอะไร ?
ก. วุฑฒิ
ข. จักร
ค. อิทธิบาท
ง. พรหมวิหาร
๔๗. ความรักใคร่ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข เป็นความหมายของข้อใด ?
ก. เมตตา
ข. กรุุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๔๘. ความสงสารคิดช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์ เป็นความหมายของข้อใด ?
ก. เมตตา
ข. กรุุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๔๙. ความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี เป็นความหมายของข้อใด ?
ก. เมตตา
ข. กรุุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๕๐. ความวางเฉยอย่างถูกต้องด้วยปัญญา เป็นความหมายของข้อใด ?
ก. เมตตา
ข. กรุุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
เฉลยคำตอบ
ข้อ | คำตอบ | ข้อ | คำตอบ | ข้อ | คำตอบ | ข้อ | คำตอบ | ข้อ | คำตอบ |
1 | ง | 11 | ง | 21 | ก | 31 | ค | 41 | ค |
2 | ง | 12 | ข | 22 | ข | 32 | ง | 42 | ก |
3 | ก | 13 | ง | 23 | ค | 33 | ข | 43 | ข |
4 | ข | 14 | ก | 24 | ง | 34 | ค | 44 | ค |
5 | ค | 15 | ก | 25 | ก | 35 | ง | 45 | ง |
6 | ก | 16 | ง | 26 | ค | 36 | ง | 46 | ง |
7 | ง | 17 | ง | 27 | ข | 37 | ก | 47 | ก |
8 | ง | 18 | ก | 28 | ค | 38 | ข | 48 | ข |
9 | ก | 19 | ค | 29 | ก | 39 | ค | 49 | ค |
10 | ง | 20 | ก | 30 | ข | 40 | ง | 50 | ง |